การวิเคราะห์องค์ประกอบทัศนคติต่อการจัดการเรียนการสอนผ่านห้องเรียนเสมือนของนักศึกษามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
Abstract
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อวิเคราะห์ทัศนคติต่อการจัดการเรียนการสอนผ่านห้องเรียนเสมือนของนักศึกษมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักศึกษามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี โดยการเลือกตัวอย่างแบบแบ่งชั้นจำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม การวิเคราะห์ใช้วิธีวิเคราะห์องค์ประกอบ และหมุนแกนปัจจัยด้วยวิธีแวริแมกซ์ ผลการวิจัยพบว่า องค์ประกอบทัศนคติต่อการจัดการเรียนการสอนผ่านห้องเรียนเสมือนของนักศึกษามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานีประกอบไปด้วย 4 องค์ประกอบ คือ ด้านความรับผิดชอบต่อตนเอง ด้านโอกาสในการเรียนรู้ ด้านอุปสรรค และด้านเวลา
This study attempted to analyze the attitude towards teaching and learning through virtual classroom at the Faculty of Education, Prince of Songkla University Pattani Campus. The samples were 400 students from Prince of Songkla University Pattani Campus, which chosen by stratified sampling techniques. The research instrument was questionnaires. Data were analyzed using Factor Analysis by Principal Component Analysis Method with Varimax rotation. The results were found four factors namely: Personal Accountability, Learning Opportunities, Obstacles, and Time.
Full Text:
PDFReferences
ดลพรรณ ภู่เจริญยศ, คณิตา นิจจรัลกุล, และวสันต์ อติศัพท์. (2550). รูปแบบการสนทนาโดยใช้ห้องสนทนาของบทเรียนบนเว็บที่ ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาปริญญาตรี. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี, 18(2), 137-151.
ทัศนีย์ ฤกษ์สโมสร, วสันต์ อติศัพท์, และธีรพงศ์ แก่นอินทร์. (2554). การพัฒนาครูประจำการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศด้วยบท เรียนออนไลน์เรื่อง ห้องเรียนเสมือน: การศึกษาเชิงคุณภาพ. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี, 22(2), 258-272.
นงลักษณ์ อันทะเดช. (2554). การพัฒนาห้องเรียนเสมือนจริงวิชาการใช้ คอมพิวเตอร์ในงานธุรกิจตามแนวคอนสตรัคติวิสต์สำหรับ นักศึกษาระดับปริญญาตรี คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลอีสาน. การประชุมวิชาการเสนอผลงาน วิจัยระดับบัณฑิตศึกษาแห่งชาติครั้งที่ 23 ณ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลอีสาน 23-24 ธันวาคม 2554, 935-940.
บุญเรือง เนียมหอม. (2540). การพัฒนาระบบการเรียนการสอนทาง อินเตอร์เน็ตในระดับอุดมศึกษา. วิทยานิพนธ์ปริญญา ครุศาสตรมหาบัณฑิต คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ปราณี ทองคำ. (2548). สภาพการใช้และความพึงพอใจของนักศึกษาที่ มีต่อการเรียนการสอนในห้องเรียนเสมือน: กรณีศึกษารายวิชา 266-416 การวิจัยสำหรับครู. สืบค้นได้จาก http://educms. pn.psu.ac.th/ojs-room/viewarticle.php?id=4
วัน เดชพิชัย. (2532). คู่มือการวิจัยและประเมินโครงการทางการศึกษา และพฤติกรรมศาสตร์. ปัตตานี: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
สุดาพันธ์ จุลเอียด. (2552). การพัฒนาบทเรียนบนห้องเรียนเสมือนโดย ประยุกต์การเรียนแบบใช้ปัญหาเป็นหลักสำหรับนักศึกษา ปริญญาตรี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี. วารสารวิทยบริการ, 20(2), 67-80.
สุรพล บุญลือ. (2550). การพัฒนารูปแบบการสอนโดยใช้ห้องเรียน เสมือนจริงแบบใช้ปัญหาเป็นหลักในระดับอุดมศึกษา. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษาดุษฎีบัณฑิต คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
สุวิมล ติรกานันท์. (2553). การวิเคราะห์ตัวแปรพหุในงานวิจัยทาง สังคมศาสตร์. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อัญชนา จันทรสุข. (2545). การนำเสนอรูปแบบการจัดการห้องเรียน เสมือนบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต สำหรับนิสิตนักศึกษาใน สถาบันอุดมศึกษา สังกัดทบวงมหาวิทยาลัย. วิทยานิพนธ์ ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.
DOI: http://dx.doi.org/10.14456/asj-psu.2014.9
Refbacks
- There are currently no refbacks.
สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
Office of Academic Resources, Prince of Songkla University, Pattani Campus