KmFI Model เพื่อการพัฒนาสมรรถนะการจัดการความรู้และสมรรถนะนวัตกรรม ของสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏ

มุจลินทร์ ผลกล้า, วสันต์ อติศัพท์, อิ่มจิต เลิศพงษ์สมบัติ, ชิดชนก เชิงเชาว์

Abstract


การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสมรรถนะการจัดการความรู้กับสมรรถนะทางนวัตกรรม ใช้กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานในสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏ 40 แห่ง จำนวน 160 คน มีวิธีดำเนินการวิจัยแบบผสมผสาน(Mixed Methods Research) โดยนำเสนอรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะการจัดการความรู้กับสมรรถนะทางนวัตกรรม รูปแบบการพัฒนาที่ได้ ใช้ชื่อว่า KmFI Model (เค ไฟว์ โมเดล) รายละเอียดของ KmFI Model เพื่อการพัฒนาสมรรถนะการจัดการความรู้และสมรรถนะนวัตกรรมของสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏ มีดังนี้ 1) สมรรถนะการจัดการความรู้ (Km) ประกอบด้วย สร้างนักเรียนรู้ กำหนดความรู้ สกัดความรู้ เรียนรู้/นำไปใช้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้สร้างความรู้ใหม่ 2) ปัจจัยสนับสนุน (F) ประกอบด้วย ทิศทางองค์กร ภาวะผู้นำ วัฒนธรรมราชภัฏ
สร้างแรงจูงใจ ให้พลังร่วม ใช้เทคโนโลยี ประเมินผล 3) สมรรถนะทางนวัตกรรม (I) ประกอบด้วย สร้างนักค้นพบ กำหนดทิศทางนวัตกรรม ตั้งทีมผู้เชี่ยวชาญ พัฒนาทักษะนวัตกรรม สร้างสรรค์สิ่งใหม่แพร่กระจายนวัตกรรม

คำสำคัญ: การจัดการความรู้, นวัตกรรม, สมรรถนะการจัดการความรู้, สมรรถนะทางนวัตกรรม

 

The purposes of this research were to study the knowledge management and innovation competencies. The sample data used in this research were collected from 40 Academic Resources and Information Technology Centers of Rajabhat Universities. The Mixed Methods was used in this study. The research results the Qualitative Research was to determine the development processes of the knowledge management and the innovation competencies of Academic Resources and Information Technology Center, Rajabhat University. It was found that the competencies developments consist of the following components: 1) Knowledge management competency consists of leaner, knowledge, knowledge extraction, learning/applying, knowledge sharing, and new knowledge creating; 2) Supporting factors for the competencies consist of organization structure, leadership, organization culture, motivation, technologies combining and result evaluating; 3) Innovation competency consists of discovers, visions, expert teams, innovation skill development, new innovation building, and innovation distributing.

Keyword: knowledge management, innovation, Knowledge Management, Competency, Innovation Competency


Full Text:

PDF

References


เกรียงไกรยศ พันธุ์ไทย. (2552). อิทธิพลของพฤติกรรมผู้นำวัฒนธรรมการทำงานในองค์การและกิจกรรมการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ที่มีต่อผลการปฏิบัติงานของพนักงานรัฐวิสาหกิจ. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

จิรัชฌา วิเชียรปัญญา. (2549). การพัฒนาตัวบ่งชีรวมสำหรับการจัดการความรู้ที่มีประสิทธิภาพ. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ชัชวาล วงษ์ประเสริฐ. (2548). การจัดการความรู้ ในองค์กรธุรกิจ. กรุงเทพมหานคร: เอ็กซเปอร์เน็ท.

ทิพวรรณ หล่อสุวรรณรัตน์. (2548). ทฤษฎีองค์การสมัยใหม่. กรุงเทพมหานคร: แซทโฟร์ พริ้นติ้ง.

นันทา วิทวุฒิศักดิ์. (2550). การรู้สารสนเทศ: ความสามารถที่จำเป็นเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต. วารสารห้องสมุด, 51(2), 16-21.

นํ้าทิพย์ วิภาวิน. (2547). การจัดการความรู้กับคลังความรู้. กรุงเทพมหานคร: เอสอาร์ พริ้นติ้งแมส โปรดักส์.

บุญส่ง หาญพานิช. (2546). การพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการความรู้ใสถาบันอุดมศึกษาไทย. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรดุษฎี บัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ประเวศ วะสี. (2545). ปฏิรูปการเรียนรู้ผู้เรียนสำคัญที่สุด. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์คุรุสภา ลาดพร้าว.

พยัต วุฒิรงค์. (2549). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการจัดการความรู้ภายในองค์กร. Chulalongkorn Review, 18(71), 5-18.

พรพิมล หรรษาภิรมย์โชค. (2550). การพัฒนารูปแบบการจัดการความรู้สำหรับหน่วยงานภาครัฐ. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วิจารณ์ พานิช. (2546). องค์การแห่งการเรียนรู้และการจัดการความรู้. กรุงเทพมหานคร: สุขภาพใจ.

ศิวะนันท์ ศิวพิทักษ์. (2557). กระบวนการจัดการความรู้และนวัตกรรมส่งผลต่อความอยู่รอดขององค์กรธุรกิจ. วารสารสุทธิปริทัศน์, 8(85), 45-60.

สำนักงานคณะกรรมการการพัฒนาระบบราชการ. (2548). กระบวนการจัดการความรู้. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานคณะกรรมการการพัฒนาระบบราชการและสถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ.

Chen, J., Zhu, Z., Yuan, H. X. (2004). Measuring intellectual capital: a new model and empirical study. Journal of Intellectual Capital, 5(1), 195–212.

Jain, P. (2006). An empirical study of knowledge in academic libraries in east and southern Africa. Library Review, 56(5), 377-392.

Maponya, P. M. (2004). Knowledge management practices in academic libraries: A case study of the University of Natal, Pietemaritzburg Libraries. Retrieved from http://mapule276883.pbworks.com/f/Knowledge+management+practices+in+academic+libraries.pdf.

Nonaka, I. (1991). A Dynamic theory of organizational knowledge creation. Organization Science, 5(1), 14-25.

Sarrafzadeh, M. (2006). LIS Professional and knowledge management: Some resent perspectives. Library Management, 27(9), 621-635.

Swanson, R. A., & Holton, E. F. (2001). Foundations of human resource development. San Francisco: Berrett-Koehler Publishers.

White, C. L., & Ahmed, P. K. (2004). The development and validation of the organization innovativeness construct using confirmatory factor analysis. European Journal of Innovation Management, 7(4), 303-313.

Wiig, K. (1993). Knowledge management foundation. Arlington: Schema Press.

Wilkins, J., Wegen, B. V., Hoog, R. D. (1997). Understanding and valuing knowledge assets: Overview and method. Expert Systems with Applications, 13(1), 55-72.




DOI: http://dx.doi.org/10.14456/asj-psu.2015.27

Refbacks

  • There are currently no refbacks.


สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
Office of Academic Resources, Prince of Songkla University, Pattani Campus