การประเมินผลโครงการอุปสมบทหมู่ภาคฤดูร้อน 100,000 รูป ทุกหมู่บ้านทั่วไทย ประจำปีพุทธศักราช 2556: ศึกษากรณีศึกษาศูนย์อบรมวัดพระธรรมกาย จังหวัดปทุมธานี
Abstract
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงประเมิน โดยใช้รูปแบบการประเมินเชิงระบบ (IPP)และโมเดลการประเมินโครงการของ โดแนล แอล เคิก แพตทริค มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมิน 1) ด้านปัจจัยนำเข้า 2) ด้านกระบวนการ 3) ด้านผลลัพธ์ของการดำเนินงาน 4 ด้าน คือ ปฏิกิริยา การเรียนรู้ พฤติกรรม และผลลัพธ์ต่อองค์กร 4) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาโครงการ อันจะนำไปสู่การขยายผลและสร้างความยั่งยืนให้กับโครงการ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นแบบสอบถาม แบบทดสอบ แบบสัมภาษณ์ และการสนทนากลุ่ม โดยเก็บข้อมูลเชิงปริมาณจากประชากร รวมทั้งสิ้น 306 ท่าน การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ ได้แก่ การวิเคราะห์เนื้อหา และการตรวจสอบข้อมูลแบบสามเส้า
ผลการวิจัยพบว่า ด้านปัจจัยนำเข้า พบว่า ผลการประเมินในภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยความเห็นของผู้บริหารโครงการ มีค่าเฉลี่ย 4.08 และของพระอาจารย์และพระพี่เลี้ยงมีค่าเฉลี่ย 4.01 ปัญหาที่พบ คือ อาคารสถานที่ในการอบรมยังไม่เหมาะสม ด้านกระบวนการ พบว่า ผลการประเมินในภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยความเห็นของผู้บริหารโครงการ มีค่าเฉลี่ย 3.81 ของพระอาจารย์และพระพี่เลี้ยง มีค่าเฉลี่ย 3.78 และของผู้เข้ารับการอบรม มีค่าเฉลี่ย 4.01 ปัญหาที่พบ คือ การดำเนินงานกิจกรรมต่างๆ ไม่ตรงตามแผนงาน ด้านปฏิกิริยา พบว่า ผลการประเมินในภาพรวม อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย 4.22 ด้านการเรียนรู้ พบว่า คะแนนเฉลี่ยจากแบบทดสอบความรู้ของ
ผู้เข้ารับการอบรม ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ด้านพฤติกรรมของผู้เข้ารับการอบรมที่เปลี่ยนแปลงไป พบว่า ผลในภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยความเห็นของพระอาจารย์และพระพี่เลี้ยง มีค่าเฉลี่ย 3.99 ของผู้เข้ารับการอบรม มีค่าเฉลี่ย 4.03 และด้านผลลัพธ์ต่อองค์กร พบว่า ความคิดเห็นของผู้บริหารโครงการ มีผลการประเมินในภาพรวมอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย 4.15
ข้อเสนอแนะด้านการพัฒนาปรับปรุงโครงการ อันจะนำไปสู่การขยายผลและสร้างความยั่งยืนให้กับโครงการ ดังนี้ 1) ควรพัฒนาปรับปรุงโครงการจากปัญหาอุปสรรคที่พบในการดำเนินงานครั้งที่ผ่านมา 2) ควรส่งเสริมการประชาสัมพันธ์โครงการให้มากขึ้นกว่าเดิม 3) ควรสร้างเครือข่ายกัลยาณมิตร 4) ควรติดตามประเมินผลโครงการเพื่อพัฒนาโครงการอย่างสมํ่าเสมอ
This is the evaluation research. The researcher used the IPP evaluation pattern and Donald L. Kirkpatrick’s project evaluation model. Its objectives are as follows: 1) To evaluate input 2) To evaluate process 3) To evaluate products in 4 dimensions 3.1) Reaction 3.2) Learning 3.3) Behavior 3.4) Result 4) To study the way to develop this project for extending results and sustain this project. Tools used in this research are questionnaire, test, interview, and focus group discussion. The researcher collected quantitative data from the population, 306 total people. The quantitative data analyses were the frequency distribution, percentage, arithmetic mean, and standard variation. The qualitative data analyses were the content analysis and triangulation.
The research Past that: For the input factor, the evaluated overall and the result is in the very good level. The mean of data given by the Project Managements was 4.08, and that by the monks was 4.01. The problem is the training place is not suitable. For the process factor, the evaluated overall and the result was in the good level. The mean of data given by the Project Managements was 3.81, that by the monks was 3.78, and that by the trainees was 4.01. The problem was the activity operation time was not corresponding to the plan. For the reaction, the evaluated overall and the result was in the very good level with the mean was 4.22. For the learning, the average of their post test passed the standard with the score 70%. For the trainee’s changing behavior, the evaluated overall and the result was in the very good level. The mean of this data given by the monks was 3.99 and that by the trainees was 4.03. And the result on the project organizer, The Project Management’s comments were evaluated and the result was in
the very good level. Its mean was 4.15.
For the comments, to develop, extend, and sustain this project, the organizer should do as follows: 1) Develop the building and places. 2) Promote this project even more. 3) Develop the Kalayanamitra network. 4) Keep track and evaluate this project regularly for the future development.
ผลการวิจัยพบว่า ด้านปัจจัยนำเข้า พบว่า ผลการประเมินในภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยความเห็นของผู้บริหารโครงการ มีค่าเฉลี่ย 4.08 และของพระอาจารย์และพระพี่เลี้ยงมีค่าเฉลี่ย 4.01 ปัญหาที่พบ คือ อาคารสถานที่ในการอบรมยังไม่เหมาะสม ด้านกระบวนการ พบว่า ผลการประเมินในภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยความเห็นของผู้บริหารโครงการ มีค่าเฉลี่ย 3.81 ของพระอาจารย์และพระพี่เลี้ยง มีค่าเฉลี่ย 3.78 และของผู้เข้ารับการอบรม มีค่าเฉลี่ย 4.01 ปัญหาที่พบ คือ การดำเนินงานกิจกรรมต่างๆ ไม่ตรงตามแผนงาน ด้านปฏิกิริยา พบว่า ผลการประเมินในภาพรวม อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย 4.22 ด้านการเรียนรู้ พบว่า คะแนนเฉลี่ยจากแบบทดสอบความรู้ของ
ผู้เข้ารับการอบรม ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ด้านพฤติกรรมของผู้เข้ารับการอบรมที่เปลี่ยนแปลงไป พบว่า ผลในภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยความเห็นของพระอาจารย์และพระพี่เลี้ยง มีค่าเฉลี่ย 3.99 ของผู้เข้ารับการอบรม มีค่าเฉลี่ย 4.03 และด้านผลลัพธ์ต่อองค์กร พบว่า ความคิดเห็นของผู้บริหารโครงการ มีผลการประเมินในภาพรวมอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย 4.15
ข้อเสนอแนะด้านการพัฒนาปรับปรุงโครงการ อันจะนำไปสู่การขยายผลและสร้างความยั่งยืนให้กับโครงการ ดังนี้ 1) ควรพัฒนาปรับปรุงโครงการจากปัญหาอุปสรรคที่พบในการดำเนินงานครั้งที่ผ่านมา 2) ควรส่งเสริมการประชาสัมพันธ์โครงการให้มากขึ้นกว่าเดิม 3) ควรสร้างเครือข่ายกัลยาณมิตร 4) ควรติดตามประเมินผลโครงการเพื่อพัฒนาโครงการอย่างสมํ่าเสมอ
This is the evaluation research. The researcher used the IPP evaluation pattern and Donald L. Kirkpatrick’s project evaluation model. Its objectives are as follows: 1) To evaluate input 2) To evaluate process 3) To evaluate products in 4 dimensions 3.1) Reaction 3.2) Learning 3.3) Behavior 3.4) Result 4) To study the way to develop this project for extending results and sustain this project. Tools used in this research are questionnaire, test, interview, and focus group discussion. The researcher collected quantitative data from the population, 306 total people. The quantitative data analyses were the frequency distribution, percentage, arithmetic mean, and standard variation. The qualitative data analyses were the content analysis and triangulation.
The research Past that: For the input factor, the evaluated overall and the result is in the very good level. The mean of data given by the Project Managements was 4.08, and that by the monks was 4.01. The problem is the training place is not suitable. For the process factor, the evaluated overall and the result was in the good level. The mean of data given by the Project Managements was 3.81, that by the monks was 3.78, and that by the trainees was 4.01. The problem was the activity operation time was not corresponding to the plan. For the reaction, the evaluated overall and the result was in the very good level with the mean was 4.22. For the learning, the average of their post test passed the standard with the score 70%. For the trainee’s changing behavior, the evaluated overall and the result was in the very good level. The mean of this data given by the monks was 3.99 and that by the trainees was 4.03. And the result on the project organizer, The Project Management’s comments were evaluated and the result was in
the very good level. Its mean was 4.15.
For the comments, to develop, extend, and sustain this project, the organizer should do as follows: 1) Develop the building and places. 2) Promote this project even more. 3) Develop the Kalayanamitra network. 4) Keep track and evaluate this project regularly for the future development.
Full Text:
PDFReferences
พระมหาเฉลิมพล วิชา. (2552). การประเมินผลโครงการอบรมคุณธรรม จริยธรรมค่ายพุทธบุตร วัดพระศรีอารย์ ตำบลบ้านเลือก อำเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศิลปากร.
เพ็ญสิริ จีระเดชากุล. (2541). ปรัชญาการศึกษาแบบองค์รวมบนรากฐานของพระพุทธศาสนาในทัศนะพระธรรมปิฎก. วารสารบัณฑิตศึกษา มศว, 2(2), 10-12.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2555). สรุปสาระสําคัญ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 พ.ศ.2555-2559. สืบค้นจาก www.nesdb.go.th/Portals/0/news/plan/p11/SummaryPlan11_thai.pdf
DOI: http://dx.doi.org/10.14456/asj-psu.2014.31
Refbacks
- There are currently no refbacks.
สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
Office of Academic Resources, Prince of Songkla University, Pattani Campus